วันเสาร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2556

สนทนาภาษาบาลี




สนทนาภาษาบาลี

๑. วันนี้เป็นวันเสาร์ที่ ๑๗ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๕๖
            อยํ ปน ทิวโส โสรวาโร โหติ.
       อยํ จ ทิวโส สาวนมาสสฺส สตฺตรสมํ ทินํ โหติ. 
       ตสฺส ภควโต อรหโต  สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส ปรินิพฺพานโต ปฏฺฐาย ฉปญฺญารสุตฺตรปญฺจสตาธิกานิ เทวสํวจฺฉรสหสฺสานิ อติกฺกนฺตานิ.
๒. วันเสาร์ขึ้น ๑๑ ค่ำ เดือน ๙

๓. สวัสดีครับ พระอาจารย์
       โสตฺถยตฺถุ อาจริยสฺส.
       นมตฺถุ อาจริยสฺส.
            นโม เม อาจริยสฺส
       นมสฺสเต ภนฺเต
๔. อรุณสวัสดิ์ ครับ พระอาจารย์
       สุปภาตํ อาจริยสฺส
๕. เมื่อวาน คุณไปไหน
       หิยฺโย ตฺวํ กุหึ คโตสิ.
๖. ผมไปงานมงคล
       อหํ มงฺคลฏฺฐานํ คโตมฺหิ.
๗. วันนี้ เพราะเหตุไร คุณ จึงมาสาย
       กสฺมา อชฺช ตฺวํ จิรายตฺวา อาคโตสิ.
๘. ผมมาสาย เพราะเป็นวันพระ
       อหํ  ธมฺมสฺสวนทิวสภาเวน จิรายตฺวา อาคโตมฺหิ.
๙. ท่านอยู่วัดอะไร
       ตฺวํ กสฺมึ อาวาเส/อาราเม วสสิ.
๑๐. ผมอยู่วัดเทพนิมิตร
       อหํ  นิมิตฺตเทวาราเม วสามิ.
            อหํ สิริสุมงฺคลาราเม วสามิ.
๑๑. ท่านบวชได้กี่พรรษา
กิตฺตโก ตว อุปสมฺปทโต ปฏฺฐาย วสฺโส โหติ.
๑๒. ผมบวชได้ ๑๒ พรรษา
       อยํ  เม อุปสมฺปทโต ปฏฺฐาย ทฺวาทสโม วสฺโส โหติ.
๑๓. ท่านเกิดที่ไหน
       ตฺวํ กตฺถ  ชาโตสิ.
 ๑๔. ผมเกิดที่สกลนคร
       อหํ สกลนคเร ชาโตมฺหิ.
       อหํ กาฬสินฺธุสฺมึ นคเร  ชาโตมฺหิ.
       อหํ  มหาสารคาเม ชาโตมฺหิ.
            อหํ อุตฺตรธานิยํ ชาโตมฺหิ.
๑๕. ท่านมาอยู่ที่นี้นานเท่าไหร่
       ตฺวํ ตโต อาคนฺตฺวา อิธ กิตฺตกํ ปมาณํ กาลํ วสสิ.
๑๖. ผมมาอยู่ที่นี่สามปีแล้ว
       อหํ  ตโต อาคนฺตฺวา อิธ ติวสฺสิกํ  วสามิ.
๑๗. มารดาบิดาของท่านยังมีชีวิตอยู่หรือ
       ชีวนฺติ เต มาตาปิตโร.
            กึ ตว มาตาปิตโร ชีวนฺติ.
๑๘. ครับ, มารดาบิดาของผม ยังมีชีวิตอยู่
       เอวํ, อาม, ชีวินฺติ เม มาตาปิตโร.
๑๙. ตอนนี้ท่านอยู่ที่ไหน
       อิทานิ เต กตฺถ วสนฺติ.
๒๐. ท่านอยู่ที่มหาสารคาม
       อิทานิ เต มหาสารคาเม วสนฺติ.
๒๑. ท่านสบายดีหรือ
       กถํ เต สรีรปฺปวตฺติ.
๒๒. ผมสบายดีครับ
            สุปฺปวตฺตติ เม สรีรปฺปวตฺติ.
๒๓. ท่านมาที่นี่เพื่ออะไร
       ตฺวํ กิมตฺถาย อิธาคโตสิ.
๒๔. ผมมาที่นี่เพื่อเรียนพระธรรมวินัย
       อหํ ธมฺมวินยํ อุคฺคณฺหิตุ อิธาคโตมฺหิ.
       อหํ ธมฺมวินยสฺส อุคฺคหนตฺถาย อิธาคโตมฺหิ. 


1 ความคิดเห็น: